ขั้นตอนการคัดกรองผู้ทำการขอทาน

1. สอบข้อเท็จจริง
2. ประสานส่งต่อไปหน่วยงานบ้านพักเด็กและครอบครัว
3. คืนครอบครัว/นำเข้าสถานสงเคราะห์เด็ก
4. หน่วยงานหลัก คือ ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง/บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดร่วมกับ ตำรวจ พมจ. โรงพยาบาล ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ NGO มูลนิธิ


1. สอบข้อเท็จจริง
2. ประสานส่งต่อไปหน่วยงานบ้านพักเด็กและครอบครัว
3. คืนสู่ครอบครัวหรือนาเข้าสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง
(กรณีครอบครัวชุมชนไม่สามารถให้ความช่วยเหลือได้)
4. หน่วยงานหลัก คือ บ้านพักเด็กและครอบครัว / โรงพยาบาล (ตรวจสุขภาพกรณีเจ็บป่วยต้องดูแลรักษา) องค์กรภาคเอกชน NGO มูลนิธิ

1. สอบข้อเท็จจริงในพื้นที่เพื่อดำเนินการ ด้านเอกสาร หลักฐานเยี่ยมบ้านครอบครัว
2. ประสานกับศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ ดำเนินการตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาล สิทธิการรับเบี้ยผู้สูงอายุ
3. คืนสู่ครอบครัวหรือนำเข้าศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ (กรณีครอบครัวชุมชนไม่สามารถให้การช่วยเหลือได้)
4. หน่วยงานหลักศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง/ ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ ร่วมกับ พมจ./อปท./อพม./ชุมชน/ครอบครัว

1. สอบข้อเท็จจริงในพื้นที่โดยประสานกับ อปท./เครือข่าย/อาสาสมัคร ครอบครัว/ชุมชน
2. ประสานกับตำรวจ/พนักงานตาม พ.ร.บ.สุขภาพจิต เพื่อส่งต่อโรงพยาบาล
3. โรงพยาบาลสุขภาพจิตดาเนินการตามกระบวนการบำบัดรักษา
4. เมื่ออาการดีขึ้น ส่งกลับไปยังครอบครัว หรือ นำส่งตำรวจ
5. หากไม่มีญาติหรือไม่มีครอบครัวใดรับ ก็ให้ส่งศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งหรือเข้าสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง
6. หน่วยงานหลักโรงพยาบาล ตำารวจ ร่วมกับ พมจ. อพม. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง อปท.

1. สอบข้อเท็จจริงในพื้นที่โดยประสาน กับอปท./เครือข่าย/ อพม./ครอบครัว/ชุมชน เยี่ยมบ้าน
2. กรณีเจ็บป่วยประสานหน่วยกู้ชีพ 1669 และประสานกับสถานสงเคราะห์คนพิการในจังหวัด
3. ตรวจสอบสิทธิด้านสุขภาพสิทธิคนพิการ (บัตรคนพิการ/เบี้ยคนพิการ)
4. ในกรณีมีญาติ คืนสู่ครอบครัวหรือในกรณีไม่มีญาติ ไม่มีครอบครัว นำเข้าสถานสงเคราะห์คนพิการ (กรณีครอบครัว/ชุมชนไม่สามารถให้การช่วยเหลือได้)

1. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดประสานศูนย์ดำรงธรรม
2. กรณีผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร์ ไม่ใช่คนในพื้นที่ ให้ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัด เป็นหน่วยงานในการดำเนินการให้ความช่วยเหลือทุกขั้นตอน